สรุปเนื้อหาบทเรียน เื่รื่่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคำนวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์" |
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
nformation Technology หรือ IT คือ การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในระบบสารสนเทศ ตั้งแต่กระบวนการจัดเก็บ ประมวลผล และการเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อช่วยให้ได้สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจประกอบด้วย
1. เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้สำนักงาน อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมต่างๆ รวมทั้งซอฟท์แวร์ทั้งแบบสำเร็จรูปและแบบพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในงานเฉพาะด้าน ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้จัดเป็นเครื่องมือทันสมัย และใช้เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology)
2. กระบวนการในการนำอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน เพื่อรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป เช่น การจัดเก็บข้อมูลในลักษณะของฐานข้อมูล เป็นต้น
1. เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้สำนักงาน อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมต่างๆ รวมทั้งซอฟท์แวร์ทั้งแบบสำเร็จรูปและแบบพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในงานเฉพาะด้าน ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้จัดเป็นเครื่องมือทันสมัย และใช้เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology)
2. กระบวนการในการนำอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน เพื่อรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป เช่น การจัดเก็บข้อมูลในลักษณะของฐานข้อมูล เป็นต้น
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
- ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
- ซอฟต์แวร์ (Software)
- บุคลากร (Peopleware)
- ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information)
- กระบวนการทำงาน (Procedure)
ชนิดของคอมพิวเตอร์
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
ไมโคร คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ มี ขนาด เล็ก บาง คน เห็น ว่า เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ ใช้ งาน ส่วน บุคคล หรือ เรียก ว่า พี ซี (Personal Computer : PC) สามารถ ใช้ เป็นเครื่องต่อ เชื่อม ใน เครือ ข่าย หรือ ใช้ เป็นเครื่องปลาย ทาง (terminal) ซึ่ง อาจ จะ ทำ หน้า ที่ เป็น เพียง อุปกรณ์ รับ และ แสดง ผล สำหรับ ป้อน ข้อ มูล และ ดู ผล ลัพธ์ โดย ดำ เนิน การ การ ประมวล ผล บนเครื่องอื่น ใน เครือ ข่าย อาจ จะ กล่าว ได้ ว่า ไมโคร คอมพิวเตอร์ คือเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ มี หน่วย ประมวล ผล กลาง เป็น ไมโคร โพรเซสเซอร ์ใช้ งาน ง่ายทำ งาน ใน ลักษณะ ส่วน บุคคล
สถานี งาน วิศวกรรม (engineering workstation)
ผู้ ใช้ สถานี งาน วิศวกรรม ส่วน ใหญ่ เป็น วิศวกร นัก วิทยา ศาสตร์ สถาปนิก และ นัก ออก แบบ สถานี งาน วิศวกรรม มี จุด เด่น ใน เรื่อ งก รา ฟิก การ สร้าง รูป ภาพ และ การ ทำ ภาพ เคลื่อน ไหว การ เชื่อม โยง สถานี งาน วิศวกรรม รวม กัน เป็น เครือ ข่าย ทำ ให้ สามารถ แลก เปลี่ยน ข้อ มูล และ ใช้ งาน ร่วม กัน อย่าง มี ประสิทธิภาพบริษัท พัฒนา ซอฟต์แวร์หลาย บริษัท ได้ พัฒนา ซอฟต์แวร์สำเร็จ สำหรับ ใช้กับสถานี งาน วิศวกร รม ขึ้น เช่น โปรแกรม การ จัด ทำ ต้น ฉบับ หนังสือ การ ออก แบบ วง จร อิเล็กทรอนิกส์ งาน จำลอง และ คำนวณ ทางวิทยา ศาสตร์ งาน ออก แบบ ทางด้าน วิศวกรรม และ การ ควบ คุมเครื่องจักร การ ซื้อ สถานี งาน วิศวกรรม ต่าง จาก การ ซื้อเครื่องไมโคร คอมพิวเตอร์ เพราะ ไมโคร คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องสามารถ ใช้ โปรแกรม สำเร็จ สำหรับ ไมโคร คอมพิวเตอร์ ได้ และ มี ลักษณะ การ ใช้ งาน เหมือน กัน ส่วน การ ซื้อ สถานี งาน วิศวกรรม นั้น ยุ่ง ยาก กว่า สถานี งาน วิศวกรรม มี ราคา แพง กว่า ไมโคร คอมพิวเตอร์ มาก การ ใช้ งาน ก็ ต้อง การ บุคลากร ที่ มี การ ฝึกหัดมา อย่าง ดี หรือ ต้อง ใช้ เวลา เรียน รู้
สถานี งาน วิศวกรรม ส่วน ใหญ่ ใช้ ระบบปฎิบัติ การยูนิกซ์ ประสิทธิภาพ ของ ซี พียูของ ระบบ อยู่ ใน ช่วง 50-100 ล้าน คำ สั่ง ต่อ วินาที (Million Instruction Per Second : MIPS) อย่าง ไร ก็ ตาม หลัก จาก ที่ ใช้ ซี พียูแบบ ริสก ์ (Reduced Instruction Set Computer :RISC) ก็ สามารถ เพิ่ม ขีด ความ สามารถ เชิง คำนวณ ของ ซี พียูสูง ขึ้น ได้ อีก ทำ ให้ สร้าง สถานี งาน วิศวกรรม ให้ มี ขีด ความ สามารถ เชิง คำนวณ ได้ มาก กว่า 100 ล้าน คำ สั่ง ต่อ วินาที
มิ นิ คอมพิวเตอร์ (mini computer)
มิ นิ คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องที่ สามารถ ใช้ งาน พร้อม ๆ กัน ได้ หลาย คน จึง มีเครื่องปลาย ทางต่อ ได้ มิ นิ คอมพิวเตอร์ เป็น คอมพิวเตอร์ ที่ มี ราคา สูง กว่า สถานี งาน วิศวกรรม นำ มา ใช้ สำหรับ ประมวล ผล ใน งาน สาร สนเทศ ของ องค์ การ ขนาด กลาง จน ถึง องค์ การ ขนาด ใหญ่ ที่ มี การ วาง ระบบ เป็น เครือ ข่าย เพื่อ ใช้ งาน ร่วม กัน เช่น งาน บัญชี และ การ เงิน งาน ออก แบบ ทางวิศวกรรม งาน ควบ คุม การ ผลิต ใน โรง งาน อุตสาหกรรม
มิ นิ คอมพิวเตอร์ เป็น อุ ปกรณืที่ สำคัญ ใน ระบบ เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ ของ องค์ การ ที่ เรียกว ่าเครื่อให้ บริการ (server) มี หน้า ที่ ให้ บริการกับผู้ ใช้ บริการ (client) เช่น ให้ บริการ แฟ้ม ข้อ มูล ให้ บริการ ข้อ มูล ให้ บริการ ช่วย ใน การ คำนวณ และ การ สื่อ สาร
เมนเฟรม คอมพิวเตอร์ (mainframe computer)
เมนเฟรม คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาด ใหญ่ ที่ มี การ พัฒนา มา ตั้ง แต่ เริ่ม แรก เหตุ ที่ เรียก ว่า เมนเฟรม คอมพิวเตอร์ เพราะ ตัวเครื่องประกอบ ด้วย ตู้ ขนาด ใหญ่ ที่ ภาย ใน ตู้ มี ชิ้น ส่วน และ อุ ปกรณ์ ต่าง ๆ อยู่ เป็น จำนวน มาก แต่ อย่าง ไร ก็ ตาม ใน ปัจจุบันเมนเฟรม คอมพิวเตอร์ มี ขนาด ลด ลง มาก
เมนเฟรม เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ มี ราคา สูง มาก มัก อยู่ ที่ ศูนย์ คอมพิวเตอร์ หลัก ของ องค์ การ และ ต้อง อยู่ ใน ห้อง ที่ มี การ ควบ คุม อุณหภูมิ และ มี การ ดู แล รักษา เป็น อย่าง ดี บริษัท ผู้ ผลิตเมนเฟรม ได้ พัฒนา ขีด ความ สามารถ ของเครื่องให้ สูง ขึ้น ข้อ เด่น ของ การ ใช้เมนเฟรม อยู่ ที่ งาน ที่ ต้อง การ ให้ มี ระบบ ศูนย์ กลาง และ กระจาย การ ใช้ งาน ไป เป็น จำนวน มาก เช่น ระบบ เอ ทีเอ็มซึ่ง เชื่อม ต่อกับฐาน ข้อ มูล ที่ จัด การ โดยเครื่องเมนเฟรม อย่าง ไร ก็ ตาม ขนาด ของเมนเฟรม และ มิ นิ คอมพิวเตอร์ ก็ ยาก ที่ จะ จำแนก จาก กัน ให้ เห็น ชัด ปัจจุบันเมนเฟรม ได้ รับ ความ นิยม น้อย ลง ทั้ง นี้ เพราะ คอมพิวเตอร์ ขนาด เล็ก มี ประสิทธิภาพ และ ความ สามารถ ดี ขึ้น ราคา ถูก ลง ขณะ เดียว กัน ระบบ เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ ก็ ดี ขึ้น จน ทำ ให้ การ ใช้ งาน บน เครือ ข่าย กระ ทำ ได้ เหมือน การ ใช้ งาน บนเมนเฟรม
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (super computer)
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ เหมาะกับงาน คำนวณ ที่ ต้อง มี การ คำนวณ ตัว เลข จำนวน หลาย ล้าน ตัว ภาย ใน เวลา อัน รวด เร็ว เช่น งาน พยากรณ์ อากาศ ที่ ต้อง นำ ข้อ มูล ต่าง ๆ เกี่ยวกับอากาศ ทั้ง ระดับ ภาค พื้น ดิน และ ระดับชึ้นบรรยากาศ เพื่อ ดู การ เคลื่อน ไหวและ การ เปลี่ยน แปลง ของ อากาศ งาน นี้ จำ เป็น ต้อง ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ มี สมรรถนะ สูง มาก นอก จาก นี้ มี งาน อีก เป็น จำนวน มาก ที่ ต้อง ใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ซึ่ง มี ความ เร็ว สูง เช่น งาน ควบ คุมขีปนาวุะ งาน ควบ คุม ทา งอวกาศ งาน ประมวล ผล ภาพ ทางการ แพทย์ งาน ด้าน วิทยา ศาสตร์ โดย เฉพาะ ทางด้าน เคมี เภสัช วิทยา และ งาน ด้าน วิศวกรรม การ ออก แบบ
ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคของคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งได้เป็น 5 ยุค ดังนี้ คือ
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1
อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศซึ่งใช้กำลังไฟฟ้าสูง จึงมีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ถึงแม้จะมีระบบระบายความร้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค (ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC)
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3
อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายในมากมายทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น และสามารถสร้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ในการกำหนดชุดคำสั่งต่าง ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่งเวลาการทำงานให้กับงานหลาย ๆ อย่าง
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก(Very Large Scale Integration : VLSI) เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์ที่บรรจุทรานซิสเตอร์นับหมื่นนับแสนตัว ทำให้ขนาดเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงสามารถตั้งบนโต๊ะในสำนักงานหรือพกพาเหมือนกระเป๋าหิ้วไปในที่ต่าง ๆ ได้ ขณะเดียวกันระบบซอฟต์แวร์ก็ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก มีโปรแกรมสำเร็จให้เลือกใช้กันมากทำให้เกิดความสะดวกในการใช้งานอย่างกว้างขวาง
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
ไมโคร
คอมพิวเตอร์ แบบ ตั้ง โต๊ะ (desktop computer)
ผู้
สถานี
มิ
มิ
มิ
เมนเฟรม
เมนเฟรม
เมนเฟรม
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (super computer)
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคของคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งได้เป็น 5 ยุค ดังนี้ คือ
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1
อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศซึ่งใช้กำลังไฟฟ้าสูง จึงมีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ถึงแม้จะมีระบบระบายความร้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค (ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC)
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2
อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจำ มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก เช่น จานแม่เหล็ก ส่วนทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีการพัฒนาดีขึ้น โดยสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่เขียนเป็นประโยคที่คนสามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล เป็นต้น ภาษาระดับสูงนี้ได้มีการพัฒนาและใช้งานมาจนถึงปัจจุบันคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3
อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายในมากมายทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น และสามารถสร้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ในการกำหนดชุดคำสั่งต่าง ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่งเวลาการทำงานให้กับงานหลาย ๆ อย่าง
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก(Very Large Scale Integration : VLSI) เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์ที่บรรจุทรานซิสเตอร์นับหมื่นนับแสนตัว ทำให้ขนาดเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงสามารถตั้งบนโต๊ะในสำนักงานหรือพกพาเหมือนกระเป๋าหิ้วไปในที่ต่าง ๆ ได้ ขณะเดียวกันระบบซอฟต์แวร์ก็ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก มีโปรแกรมสำเร็จให้เลือกใช้กันมากทำให้เกิดความสะดวกในการใช้งานอย่างกว้างขวาง
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5
คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆ เข้าไว้ในเครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจากวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศในทวีปยุโรปกำลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจัง
คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆ เข้าไว้ในเครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจากวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศในทวีปยุโรปกำลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจัง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น